Makita BVF154 Paint Sprayer User Manual


 
32
การเติมน้ํายาเคม
คําเตอน:
เมื่อมีการเปลี่ยนน้ํายาเคมี ใหตรวจสอบอยางละเอียดวาไดลางถัง ปม
หัวฉีด ฯลฯ ดวยน้ําสะอาดแลว เศษที่ตกคางจากน้ํายาเคมีเดิมอาจ
ทําใหผูใชไดรับอันตรายจากการพนยา นอกจากนี้ หากเปนสารเคมีผสม
การเปลี่ยนแปลงสารเคมีที่เกิดขึ้นอาจกอใหเกิดอนตรายจากแกสพิษได
อยาลืมสวมถุงมือปองกัน
อยาเปลี่ยนน้ํายาเคมีในสถานที่ที
่มีการระบายอากาศไมดี (ปองกันการ
ไดรับพิษจากสารเคมี)
ตรวจสอบใหแนใจวาไดปดสวิชตเครื่องพนยา และเติมน้ํายาเคมีที่ผสม
แลวลงในถังน้ํายา
ในขณะที่เติมน้ําเคมีลงในถัง ใหกรองสารเคมีผานตัวกรองที่ติดตั้งมากับ
ถังน้ํายาทุกครั้ง
ดานขางของถังน้ํายาจะมีเครื่องหมายแสดงระดับ ดังนั้นควรใชเครื่องหมาย
ดังกลาวเปนแนวทางในการทํางาน
ปดฝาถังน้ํายาเคมใหสนิทเพื่อปองกันการรั่วไหล
การปรับความยาวของสายรัดดานหลัง
ปรับความยาวของสายรัดดานหลังใหเครื่องพนยาอยูใกลตัวในตําแหนงที่
เหมาะสมที่สุด
การปรับสายรัดใหยาวขึ้น
(1) ยกหัวเข็มขัดขึ้น
(2) ดึงเข็มขัดดานขางที่เชื่อมตอกับเครื่องพนยา (ภาพที่ 6)
การปรับสายรัดใหสั้นลง
ดึงเข็มขัดดานที่ไมเชื่อมตอกับสิ่งใด (ภาพที่ 7)
หมายเหตุ:
เมื่อทําการปรับสายรัดใหสั้นลง สายรัดจะเลื่อนไดงายขึ้นหากไมมีการถวง
้ําหนักที่สายรัด
การดูแลรักษา
ขอควรระวัง:
ตรวจสอบวาปดสวตชเครื่องและถอดตลับแบตเตอรีออกแลวกอน
ทําการตรวจสอบหรือดูแลรักษาเครื่อง
สําหรับการตรวจสอบและการดูแลรักษา ใหสวมถุงมอปองกันทุกครั้ง
การดูแลรักษาหลังจากการใชงาน
หลังจากการใชงาน ใหนําน้ํายาที่เหลืออยูออกจากถังน้ํายา และลาง
สารเคมีที่ติดแนนออกใหหมดจากดานในถังโดยใชน้ําสะอาด
ในตอนนี้ใหเติมน้ําสะอาดลงในถังน้ํายา และใชงานเครื่องพนยา
ประมาณ 2 ถึง 3 นาทีเพื่อลางน้ํายาเคมีที่หลงเหลืออยูออกจากปม
สายพนยา หัวฉีด ฯลฯ
นําน้ํายาที่ตกคางอยูออกจากถังน้ํายาดานใน ใหเปดทํางานปมอีกครั้ง
และใชงานเครื่องพนยาจนกว
าน้ํายาจะไมไหลออกมาจากหัวฉีด
จากนั้นใหปดสวตชเครื่องพนยา
เช็ดคราบน้ํายาและสิ่งสกปรกออกจากอุปกรณ จากนั้นใหตรวจสอบ
การชํารุดเสียหาย และการรั่วไหลตางๆ
การตรวจสอบประจําวัน
กอนการทํางาน ใหตรวจสอบวาตัวยึดหลวม และสวนประกอบตางๆ
หายไปหรือไม
ตรวจสอบเพื่อใหแนใจวาสายพนไมมีรอยแตกราว ฉีกขาด และ/หรือ
ชํารุดเสียหาย
หลังจากการใชงาน ใหตรวจสอบทุกครั้งวาไดเช็ดคราบสกปรกภายนอก
ออก รวมถึงตรวจสอบการชํารุดเสียหาย และ/หรือการรั่วไหลตางๆ
การทําความสะอาดตัวกรองเพื่อดูดซับน้ํา (ภาพที่ 8)
หลังจากการนําน้ํายาเคมีออกจากถัง ใหถอดตัวกรองเพื่อดูดซับน้ําที่อยู
ดานลางถังน้ํายาออกเพื่อทําความสะอาด
การทําความสะอาดตัวกรองของคันโยกเปดปด
(ภาพที่ 9)
ถอดฝาครอบคันโยกเปดปดออกและทําความสะอาดตัวกรอง
หมายเหตุ:
ตัวกรองเพื่อดูดซับน้ํา
คือตัวกรองที่ใชเพื่อปองกันสิ่งสกปรกและฝุนผง (ที่ไหลผานตัวกรอง
ของถังเขาสูถังน้ํายา) ไมใหเขาสูปม หากตัวกรองเพื่อดูดซับน้ําอุดตัน
การพนยาจะดอยประสิทธิภาพลง และอาจมีความเสี่ยงที่จะทําใหปม
ไดรับผลกระทบอยางรุนแรง
ตัวกรองของคันโยกเปดปด
การพนยาจะดอยประสิทธิภาพลง หากต
ัวกรองของคันโยกเปดปด
อุดตัน
การเก็บรักษาเครื่องพนยา
ลางอุปกรณโดยใชขั้นตอนการดูแลรักษาหลังจากการใชงาน
โดยเฉพาะเมื่อทําการจัดเกบเครื่องในฤดูหนาว เพราะอาจเกิดการ
แตกหกหรือชํารุดเสียหายขึ้นเนื่องจากสารเคมีที่ตกคาง และ/หรือ
น้ําที่ใชลางภายในปมแข็งตัว ใหเปดใชงานปมจนกวาน้ํายาที่ตกคาง
ทั้งหมดไหลออกมาจากหัวฉีด ตรวจสอบใหแนใจวาไมมีน้
ายาตกคาง
อยู ปดสวตชเครื่องพนยา แลวนําเครื่องพนยาไปจัดเก็บไว
ขอควรระวัง:
จัดเกบเครื่องพนยาใหอยูหางจากมือเด็ก ภายในอาคารที่ไมกลายเปน
น้ําแข็ง ไมถูกแสงแดดโดยตรง และมีระบบระบายอากาศที่ดี
- ใชความระมัดระวังในการจัดเก็บเครื่องพนยา เนื่องจากในบางกรณี
ชิ้นสวนที่เปนพลาสติกจะเสื่อมสภาพอยางชัดเจน หากทิ้งไวใหถูก
แสงแดดโดยตรงตอเนื่องเปนเวลานาน นอกจากน
้ปายคําเตือน
ของผลิตภัณฑจะมีสีซีดจางและ/หรือหลุดลอกออกมา
คําแนะนาที่เปนประโยชน
ตัวยึดทอพนยา
ตรวจสอบวาไดประกอบตัวยึดในตาแหนงที่ถูกตอง (ภาพที่ 10)
หมายเหตุ:
ในกรณีของการจัดเตรียมสวนประกอบ อาจตองใชแรงในขั้นตอนของ
การประกอบชิ้นสวน แตตองใชความระมัดระวังไมทําใหทอพนยาโคงงอ
ใชตัวยึดในขณะที่หยุดพัก การเติมน้ํายาเคมี และในการจัดเก็บ ฯลฯ
(ภาพที่ 11)